วันพฤหัสบดีที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

สัปดาห์ที่ 15


หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

         - สำนักงานบริหารการศึกษาพิเศษ(สศศ)
        - โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์
        - ศูนย์การศึกษาพิเศษ (Early Intervention : EI)
        - โรงเรียนเฉพาะคนพิการ
        - โรงเรียนเฉพาะคนพิการ
        - สถาบันราชานุกูล (ช่วยเหลือเด็กพิเศษโดยเฉพาะ) ติดตามระยะยาว

วันพฤหัสบดีที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

สัปดาห์ที่ 14


ไม่มีการเรียนการสอน

เนื่องจากอาจารไปศึกษาดูงานที่ต่างจังหวัด

วันพฤหัสบดีที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2557

สัปดาห์ที่ 13



การเรียนการสอน


การดูแลรักษาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่มีความต้องการพิเศษ


ดาวซินโดรม
         - รักษาตามอาการ
         - แก้ไขความผิดปกติร่วมด้วย
         - ให้เด็กช่วยเหลือตนเองได้ในชีวิตประจำวัน และอยู่ในสังคมได้ใกล้เคียงกับคนปกติมากที่สุด
เน้นการดูแลแบบองค์รวม (Holistic Approach)
        1.ด้านสุขภาพอนามัย
               - บิดามารดา พาบุตรไปพบแพทย์ ตั้งแต่แรกเริ่ม ติดตามอาการเป็นระยะๆ
        2.การส่งเสริมพัฒนาการ
               - เด็กกลุ่มอาการดาวน์สามารถพัฒนาได้ถ้าได้รับการฝึกสอนที่เหมาะสม
3.การดำรงชีวิตประจำวัน
               - ฝึกให้ช่วยเหลือตนเองมากที่สุด
4.การฟื้นฟูสมรรถภาพเด็ก
               - การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ เช่น การฝึกพูด กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด
               - การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษาโดยจัดทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
               - การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม เช่น การฝึกทักษะกาดำรงชีวิตประจำวัน
               - การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพโดยการฝึกอาชีพ
การเลี้ยงดูในช่วง3เดือนแรก
        - ยอมรับความจริง
        - เด็กกลุ่มอาการดาวน์มีพัฒนาการเป็นขั้นตอนเช่นเดียวกับเด็กทั่วไป
        - ให้ความรักความอบอุ่น
        - ตรวจภายใน หามะเร็งปากมดลูก
        - คุมกำเนิด ทำหมัน
        - การสอนเพศศึกษา
        - ตรวจโรคหัวใจ
การส่งเสริมพัฒนาการ
        - พัฒนาทักษะด้านต่างๆ เช่นคณิตศาสตร์ ภาษา
        - สามารถปรับตัวและช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น
        - สังคมยอมรับมากขึ้น ไปเรียนร่วมหรือเรียนรวมได้
        - ลดปัญหาพฤติกรรม
        - คุณภาพชีวิตดีขึ้น สามารถแก้ปัญหาและทำงานดีขึ้น

ออทิสติก
ส่งเสริมความเข้มแข็งของครอบครัว
        - ครอบครัวมีบทบาทสำคัญที่สุดในกระบวนการดูแลและช่วยเหลือเด็กออทิสติก
ส่งเสริมความสามารถของเด็ก
        - การเสริมสร้างโอกาสให้เด็กได้เล่นของเล่นที่หลากหลาย
        - ทำกิจกรรมที่หลากหลาย
        - การปรับพฤติกรรมและฝึกทักษะทางสังคม
        - เพิ่มพฤติกรรมที่เหมาะสมและลดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
        - การให้แรงเสริม
การฝึกพูด
        - โดยเฉพาะในรายที่มีพัฒนาการด้านภาษาและการสื่อความหมายล่าช้า
        - ถ้าเด็กพูดได้เร็ว โอกาสที่เด็กจะมีพัฒนาการด้านภาษาใกล้เคียงเหมือนกับเด็กปกติจะมีเพิ่มมากขึ้น
        - ลดภาษาที่ไม่เหมาะสม
        - ช่วยลดพฤติกรรมที่ก้าวร้าวที่เกิดจากการไม่สามารถสื่อความหมายที่ต้องการได้
        - การสื่อความหมายทดแทน (AAC)
การส่งเสริมพัฒนาการ
        - ให้เด็กมีพัฒนาการเป็นไปตามวัย
        - เน้นในเรื่องการมองหน้า การสบตา การมีสมาธิ การฟัง การทำตามคำสั่ง
        - ส่งเสริมพัฒนาการด้านอื่นที่ล่าช้าควบคู่กับพัฒนาทักษะด้านการสื่อสาร สังคม และการปรับพฤติกรรม
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา
        - เพิ่มทักษะพื้นฐานด้านสังคม การสื่อสาร และทักษะทางความคิด
        - แผนการจัดการศึกษา เฉพาะบุคคล
        - โรงเรียนร่วม ห้องเรียนคู่ขนาน
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม
        - ทักษะในชีวิตประจำวัน และการฝึกทักษะทางสังคม
        - ให้เด็กสามารถทำได้ด้วยตนเองเต็มความสามารถ โดยต้องการความช่วยเหลือน้อยที่สุด
การรักษาด้วยยา
        - Metheylphenidate (Ritalin) ช่วยลดอาการไม่นิ่ง/ซน หุนหันพลันแล่น/ขาดสมาธิ
        - Risperidone /Haloperidol ช่วยลดอาการอยู่ไม่นิ่ง หงุดหงิด หุนหันพลันแล่น พฤติกรรมซ้ำๆ ก้าวร้าวรุนแรง
        - ยาในกลุ่ม Anticonvulsant (ยากันชัก) ใช้ได้ผลกับรายที่มีพฤติกรรมทำร้ายตนเอง
การบำบัดทางเลือก
        - (AAC) การสื่อความหมายทดแทน
        -  (Art Therapy) ศิลปกรรมบำบัด
        - (Music Therapy)ดนตรีบำบัด
        -  (Acupuncture) การฝังเข็ม
        -  (Animal Therapy) การบำบัดด้วยสัตว์
พ่อแม่
        - ลูกต้องพัฒนาได้
        - เรารักลูกของเรา ไม่ว่าเขาจะเป็นอย่างไร
       - ถ้าเราไม่รักแล้วใครจะรัก
        - หยุดไม่ได้
        - ดูแลจิตใจและร่างกายของตนเองให้แข็งแรง
        - ไม่กล่าวโทษตนเองหรือคู่สมรส
        - ควรหันหน้าปรึกษากันในครอบครัว




วันพฤหัสบดีที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2557

สัปดาห์ที่ 12


ไม่มีการเรียนการสอน

              เนื่องจากเกิดความไม่สงบของ                                  สถานการณ์ทางการเมือง

วันพฤหัสบดีที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2557

สัปดาห์ที่ 11


การเรียนการสอน

        - อาจารย์นัดสอบกลางภาคสัปดาห์หน้า 40 ข้อ 15 คะแนน (ไม่มีข้อเขียน)

แบบประเมินที่ใช้ในเวชปฏิบัติ

        - แบบทดสอบ Denver II
        - Gesell Drawing Test
        - แบบประเมินพํฒนาการเด็กตามคุ่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุแรกเกิด - 5 ปี สถาบันราชานุกูล

Gesell Drawing Test สำหรับเด้กอายุ 12 ขวบ




แนวทางการดูแลรักษา

        - สาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ

        - ควรตรวจสอบค้นหาความผิดปกติร่วม (คือ หูหนวก ตาบอด)
        - รักษาสาเหตุโดยตรง
        - ให้คำปรึกษาครอลครัว
ขั้นตอนในการดูแลเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

  1. การตรวจคัดกรองพัฒนาการ
  2. การตรวจประเมินพัฒนาการ
  3. การให้การวินิจฉัยและหาสาเหตุ
  4. การให้การรักษาและส่งเสริมพัฒนาการ
  5. การติดตามและประเมินผลรักาาเป็นระยะ






วันพฤหัสบดีที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2557

วันพฤหัสบดีที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2557